[English below]
หากกล่าวถึงคำว่า พิพิธภัณฑ์ สำหรับใครๆหลายคน ผมเชื่อว่าทั นทีที่ผมเมื่อได้เอ่ยปากชั กชวนให้ไปเดิน หรือว่าแค่ได้ยิ นก็เบือนหน้าหนีแล้ว ด้วยความที่ ว่าพิพิธภัณฑ์ส่วนใหญ่ ในประเทศไทยไม่ค่อยมีความน่ าสนใจเท่าที่ควร เลยทำให้ คนไทยส่วนมากไม่นิยมและให้ ความสำคัญในการเดินดูพิพิธภัณฑ์ เฉกเช่นการท่องเที่ยวเชิงศิลปวั ฒนธรรมแบบอื่นๆ โดยส่วนตั วของผมแล้ว พิพิธภัณฑ์ ในดวงใจของผมในประเทศไทยมีอยู่ ไม่กี่ที่ และพิพิธภัณฑ์อัญมณี และเครื่องประดับ ก็ถือเป็นหนึ่ งใน my hidden gems สำหรั บผมเลยทีเดียว
ตั้งอยู่บนถนนสี ลมภายในอาคารไอทีเอฟทาวเวอร์ พิ พิธภัณฑ์แห่งนี้ จัดแสดงเรื่ องราวเกี่ยวกับอัญมณีและเครื่ องประดับแบบครบวงจร โดยมีแนวคิ ดให้ผู้เยี่ยมชมได้เรียนรู้ตั้ งแต่เรื่องการกำเนิดของอัญมณี ไปจนถึงการเจียระไน การขึ้นรูป ตลอดจนการให้ข้อมูลของโลหะมีค่ าต่างๆ และจัดแสดงแร่อัญมณีชิ้ นเป้งๆ! หลังจากที่ก้าวเข้ ามาในอาคารพิพิธภัณฑ์ สิ่งแรกที่ ผมประทับใจอย่างมากก็คือการให้ ความสำคัญของผู้เยี่ยมชมทุ กสถานะ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กับบุ คคลทุพพลภาพ ทางพิพิธภัณฑ์ได้จั ดเตรียมลิฟท์บันไดไว้ให้สำหรั บคนที่ต้องใช้วีลแชร์ เพื่อให้ สะดวกต่อการขึ้นบันไดเพื่อเข้ าชมนิทรรศการ ภายในตัวพิพิธภั ณฑ์ค่อนข้างโปร่ง เดินง่าย จั ดเป็นโซนต่างๆชัดเจน ไม่งง และโดยรวมดูสะอาดตา ตัวอาคารเลื อกที่จะตกแต่งให้มีช่องโค้งด้ านบนเป็นจุดนำสายตา ซึ่งคลับคล้ ายคลับคลาว่าจะเป็ นการออกแบบทางเดินที่มีช่องโค้ งยอดนิยมในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ตัวอย่างเช่นเบอร์ลิงตันอาร์ เคดในลอนดอน การออกแบบให้ความรู้ สึกหรูหรา เข้ากับการแสดงคริสตั ลชวารอฟสกีที่เคยเป็นหนึ่งในคริ สตัลที่ใหญ่ที่สุดในโลกได้เป็ นอย่างดี
พิพิธภัณฑ์แห่งนี้แบ่งออกเป็ นโซนทั้งหมด 8 โซนด้วยกัน จั ดแสดงตั้งแต่การกำเนิดของแร่อั ญมณี หรือโลหะมีค่าต่างๆ ไปจนถึ งการจัดแสดงเครื่องประดับตามสมั ยนิยม ห้องแรกสุดจะเป็นการกำเนิ ด และเหมืองพลอยในประเทศไทย ในโซนนี้จะเล่าถึงจุดกำเนิด และการมีอยู่ของแร่อัญมณี ในประเทศไทย ได้เรียนรู้ศัพท์ เฉพาะที่ชาวบ้านใช้ในการเรียกขั้ นตอนการขุดแร่ต่างๆ เช่นคำว่า แย็ก ฟังดูตลก แต่เป็นคำที่ ชาวบ้านใช้เรียกเครื่ องแยกพลอยชนิดหนึ่ง
ถัดมาจะเป็นโซนที่เล่าถึ งประเภทของอัญมณีต่างๆทั่วไป และมีการจัดแสดงอัญมณีชิ้นนั้ นๆภายในสภาพแสงไฟที่ต่างกัน เพื่ อที่จะได้เห็นคุณสมบัติในการหั กเหแสงหรือสะท้อนแสงต่างกั นออกไป ซึ่งเราสามารถเป็ นคนกำหนดการเปิดปิ ดไฟและสำรวจการสะท้อนแสงของอั ญมณีได้ด้วยตัวเอง ต่อมาจะเป็ นโซนของการจัดแสดงเพชร ซึ่งถื อเป็นหนึ่งในโซนชูโรงของที่นี่ เลยก็ว่าได้ เนื่องจากเพชรที่ นำมาจัดแสดงนั้นมีหลายหลายแบบ หลายหลายขนาดมาก ส่วนใหญ่ จะมาในรูปของเครื่องประดับซึ่ งงดงามมาก ยิ่งผนวกไปกับการจั ดแสงไฟที่ทางพิพิธภัณฑ์ ในคำนวณการหั กเหของแสงของเพชรแต่ละเม็ดแล้ว บอกได้คำเดียวเลยครับว่ าสวยงามมากจริงๆ โซนนี้จะจั ดแสดงติดกับโซนการเจียระไน และการทำเครื่องประดับ ซึ่ งทางพิพิธภัณฑ์ได้นำเครื่องเจี ยระไนเป็นๆมาให้เราได้ชม รวมถึ งอุปกรณ์ในการขึ้นรูปพลอย และโลหะมีค่าต่างๆ ก่อนที่ จะทำเป็นเครื่องประดับ ต่ อมาจะเป็นโซนอัญมณีอินทรีย์ ซึ่ งเล่าถึงอัญมณีที่ต้นดำเนิ ดมาจากสิ่งมีชีวิต ซึ่งผมก็เพิ่ งที่จะทราบว่าปะการังก็จัดเป็ นหนึ่งในอัญมณีมีค่าเช่นเดียวกั บหอยมุก และงาช้าง
ติดๆกันจะเป็นโซนอัญมณีสั งเคราะห์ นักวิทยาศาสตร์ สามารถสังเคราะห์พลอยมีค่ าบางชนิดได้ในห้องแล็บ เช่ นแซปไฟร์ หรือเพชร สามารถทำโครงสร้างโมเลกุลให้ เหมือนกับอัญมณีที่ขุ ดออกมาจากพื้นโลกแต่ราคาถูกกว่ ากันหลายเท่า โซนนี้จึงเป็นอี กหนึ่งโซนที่น่าสนใจ สำหรั บสองโซนสุดท้ายก็คือโซนเหมื องและโลหะมีค่า กับเครื่องประดั บตามสมัยนิยม จะจัดแสดงเครื่ องทองจาก บ้านช่างทองกรุ๊ป ซึ่ งเครื่องประดับแต่ละชิ้น เราจะได้ยลความปราณีตของช่ างทองไทยแต่ละท่านเป็นอย่างดี
ผมรู้สึกประทับใจกับการมีอยู่ ของพิพิธภัณฑ์นี้เป็นอย่างมาก เป็นหนึ่งในพิพิธภัณฑ์ที่เดินง่ าย และใช้เวลาประมาณ40-50นาที เราก็สามารถทำความเข้าใจโซนต่ างๆในพิพิธภัณฑ์ได้ครบ แถมภายในตัวอาคารยังมีการให้บริ การห้องสมุด ซึ่งจะมีหนังสื อหลากหลายแนวแตกต่างกันไป แต่ส่ วนมากจะเป็นหนังสือเกี่ยวกับหิ นสีมีค่าและอัญมณีต่างๆให้ได้ศึ กษาหาความรู้กัน บรรยากาศภายในเอื้อต่อการอ่ านหนังสือเป็นอย่างมาก ด้ วยการจัดแสงไฟในโถงห้องสมุ ดออกสีส้มๆ ทำให้ถนอมสายตา อี กทั้งยังเป็นการสร้างบรรยากาศที่ ดี ผู้ที่สนใจเข้าใช้ห้องสมุด สามารถซื้อบัตรแบบ one day pass ได้ที่บรรณารักษ์ โดยที่บุ คคลทั่วไป ราคาบัตรจะอยู่ที่ 20 บาท นักศึกษาและนักเรียนที่ มีบัตรนักเรียนจะอยู่ที่ 10 บาท และสมาชิกของทางสถาบั นจะสามารถใช้บริการโดยไม่เสียค่ าใช้จ่าย นับว่าพิพิธภัณฑ์อั ญมณีและเครื่องประดับ เป็นอี กหนึ่งในพิพิธภัณฑ์ ในประเทศไทยที่น่าสนใจไม่แพ้ ไปกว่าที่อื่น
What if I mention about those museums in Thailand or even invited others to some place of exhibition. In a sudden moment, you guys will absolutely deny my invitation only if I persuade them to the museum, but what’s wrong with the museum in Thailand. ‘ Outdated and tedious’ will best describe this museum situation in our country, nobody wants to attend to the exhibition that much if the museum is still stinky and antique — I mean outdated antiquity, not the antique exhibition! So the people don’ t care about the museum, nothing attractive unlike other cultural tourism that you literally can see the tangible places, but I guaranteed that you can’t apply this logic to this fabulous Gem and Jewelry Museum in Thailand, considered to be one of my ‘ hidden gems’ waited for someone to discover it.
Located within the ITF Tower on Silom street is the Gem and Jewelry Museum, this place exhibit the comprehensive collections and stories about gems and jewelry comes up with the idea for visitors to find out the origin of gemstones until the process of cutting, grinding, reforming, and providing information of various precious metals and even display many gigantic gemstones, minerals, and rocks. For the first time, I have stepped into this Museum; I have got attracted by the stairlifts, so the wheelchair users can use this equipment to help them reach the entrance easily, which I love that they really care about the audience. The interior seems so elegantly designed and also has designed a clean look yet luxurious. The building chose to have the long side arch which reminds me of an arching glass roof, a popular design for 19th- century arcades, such as the Burlington Arcade in London. This is quite a clever design to make an arching roof as an interesting remark in the building. The luxurious design has finally found its rightful place, right alongside, another equally fabulous thing in this town, Swarovski’s Big Chaton Crystal, which is the little brother of biggest jewelry stone in the world. I can value it as the Prima Donna of this museum.
The museum is divided into eight zones, with exhibits ranging from the origin of gemstones and various precious metals till the zone of trendy jewelry accessories. The first room is about the origin and gemstone mines in Thailand, in this area. They clearly describe how the gemstones were appearing and the existence of gemstones in Thailand. I’ve learned the several terminologies that the villagers used to call the mining process, such as the word ‘Yaek’, it sounds funny, but it is the word that people literally used to call a gemstone separator.
Next one will be the zone that describes various types of jewels in general, they also display jewels and gemstones under different lighting, to see the properties of refracting or reflecting different light beam, which we can manually set the light on and off and explore the reflection of the gems by ourselves. Next one is the zone presenting about diamond exhibition, which is considered as one of the remarkable zones in here.
Then the next one exhibiting the process of cutting and refining jewels into a piece of jewelry, in which the museum has brought us a gemstone grinding machine that has been used by the lapidary and including the gemstone forming tools. Next one display the Organic Gemstone, they describe the jewels that originated from living things and the funny thing is that I was just aware that corals are considered as one of the precious gemstones, just like mother-of-pearl and ivory.
Then here’s the Lab-made jewelry zone. Scientists are able to synthesize some precious gemstones in a lab, such as sapphires or diamonds, and they’re able to create molecular structures similar to gems that are dug from the earth but totally cheaper. This zone is another interesting zone. The last two zones are mine and precious metals. They also come with trendy jewelry and gold ornaments from Baan Chang Thong Group (Thai Goldsmiths). In which each piece of jewelry we can appreciate the meticulousness of each Thai goldsmith pretty well.
I am really impressed with the existence of this museum. It is one of the museums that are easy to visit, and it took about 40-50 minutes to be able to fully understand the various zones in the museum. Besides, the building also provides library services. Most of which are books about precious stones and gemstones to study and to write some academic works about it. Also I love about their facilities, computers, free internet and the service fees will blow your mind! 20 Baht for a general public, 10 Baht for the college student and free admission for a GIT member. I must consider that the Gem and Jewelry Museum is one of the museums in Thailand that is not less interesting than anywhere else, perhaps very fascinating to spend a day.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น